เมือมีใครทำอะไรให้ แล้วอยากจะกล่าวคำขอบคุณด้วยคำพูดที่อบอุ่น อย่างคำว่า “ดัน ดัน” ในภาษาคิวชู หรือ “โอคินิ” ในภาษาโอซาก้า แต่ถ้าหากเป็นที่โตเกียวแล้ว ส่วนมากจะใช้คำว่า “อะริงาโต” ซึ่งเป็นภาษามาตราฐานที่สุภาพ ในแต่ละท้องถิ่นของญี่ปุ่นซึ่งเต็มไปด้วยภาษาท้องถิ่นมากมาย ซึ่งแตกต่างจากภาษามาตราฐานที่ใช้กันอยู่ โดยภาษาท้องถิ่นจะมีสำเนียงและไวยากรณืที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละที่ ครั้งนี้จะขอแนะนำภาษาท้องถิ่นบางส่วนของญี่ปุ่น
ฮอกไกโด แผ่นดิน โดซังโคะ
ก่อนอื่นเริ่มจาก ฮอกไกโดซึ่งมีพื้นที่อยู่ทางเหนือสุดของญี่ปุ่น คำที่ว่า “โดซังโคะ” เป็นคำที่ถูกนำมากล่าว ซึ่งเป็นคำไว้ใช้เรียกม้าแคระ(โพนี่)ของญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงคนที่เกิดที่ฮอกไกโดด้วย
ฮอกไกโดเป็นดินแดนที่หนาวที่สุดในญี่ปุ่น ภาษาท้องถิ่นซึ่งมีความหมายว่าเย็น ภาษามาตราฐานจะใช้คำว่า”ซะมุย”(เย็น) คนฮอกไกโดจะพูดว่า “ชิบะเระรุ) นอกจากนี้ถ้าหากเป็นฮอกไกโด จะมีคำพูดที่ไม่ซ้ำกัน อย่างเช่นคำว่า”ไนชิ” วึ่งมีความหมายถึงเกาะฮอนชู ในภาษากลางนั้นเอง คำว่า”ไนชิ” ซึ่งคนโอกินาว่าก็ยังใช้คำนี้ด้วย ซึ่งอาจจะหมายถึงเกาะคิวชู และ ชิโกคุ
โทฮกคุ(ตะวันออกเฉียงเหนือ) ต้อนรับสู่เมืองทางเหนือ
Tohokuภูมิภาคซึ่งตั้งอยู่ในเหนือสุดของเกาะฮอนชูหมายถึง โดยทั่วไปมีความเป็นภูมิภาคคันโตโตเกียวกับฮอกไกโด แม้ว่าจะมีภาษาท้องถิ่นมากมายแต่เพราะถ้าฟังดีๆ จะมีบางส่วนคล้ายๆกันจึงจัดร่วมเป็น ภาษาโทฮกคุ
ภาษาโทฮกคุนั้นส่วนมากเป็นคำที่จะออกเสียงขึ้นทางจมูก ซึ่งจะไม่ชัดเจน นอกจากนนั้นยังมีความแตกต่างระหว่างภาษาท้องถิ่นกับภาษากลาง สำหรับคนญี่ปุ่นที่ฟังเข้าใจยาก ทางที่วีก๋จะมีตัวอักษรลงไว้ให้ด้วย
อย่างเช่น อักษรพยางค์ที่ออกเสียงชัดๆจะเป็น “คุ” และ “ทะ” แต่ถ้าเปล่งเบาๆ จะได้ยินเป็น “กุ” “ดะ” อีกตัวอย่างหนึ่งที่เป็นประโยคง่ายๆ ในภาษากลาง “โซ เดส สุ”(แบบนี้เอง) และ “โซ เดส สุ คะ”(แบบนั้นนั่นเองเหรอ)ในภาษาโทฮกคุ จะพูดว่า “ ฮึน ดะ” “โซ เดส สุ คะ?”(แบบนั้นเองเหรอ) เป็น “ฮึน ดะ กะ?”
คันโต ภาษากลางทั่วไป
โตเกียวและภูมิภาคคันโตซึ่งประกอบด้วยบางส่วนของจังหวัดใกล้เคียง แม้ว่าบางส่วนของภาษาส่วนใหญ่จะพูดภาษากลาง ซึ่งเป็นภาษาที่ถูกใช้เขียนในตำราเรียน เอกสารราชการ ซึ่งเป็นภาษาที่คนทั่วประเทศเข้าใจได้
ชินเอะสึ บริเวณสันเขาของญี่ปุ่น
บริเวณชินเอะสึ คือตั้งแต่จังหวัดนากาโน่ไปจนถึงจังหวัด นิกาตะ ซึ่งเป็นแนวสันเขาแอลป์ของญี่ปุ่น จึงถุกเรียกว่า “สันเขาญี่ปุ่น” แม้ว่าภูมิภาคนี้จะมีความแตกต่างของภาษาอยู่บ้าง โดยมีลักษณะเด่นคือ ภาษานิกาตะและภาษานากาโน่ อย่างคำที่รู้จักกันดีอย่างคำว่า”โช ชี” ซึ่งมีความหมายว่า “น่าอาย” อีกทั้งคำว่า “ยะ วะ ระ ไก” (อ่อนนุ่ม)จะออกเสียงว่า “ ยะ โค่ย” ยังมีภาษาถิ่นที่เป็นภาษาที่เข้าใจยาก อย่างภาษานะกะโอะกะ คำว่า “นะ ซึ ระ” คำนี้มีความหมายว่า “โด เดส กะ?”(เป็นอย่างไรบ้าง) หรือ “อิคะ งะ?” ซึ่งใส่ใจความรู้สึกผู้อื่นมากว่าความแตกต่างของภาษา ถ้าหากไปท่องเที่ยวแถบ ชินเอะสึ แล้วลองใช้ประโยคที่ว่า “ พา สุ ตะ นะ ซึ ระ?” แทนประโยคที่ว่า” ยู ฮัง นิ พา สุ ตะ วะ โด เดส สุ กะ?” (ม้อเย็นทานพาสต้าไหม?)
โตไก นี่มันเป็นแมวเหรอ!?
โทไกเป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเลจากทางตอนใต้ของกรุงโตเกียวไปยังพื้นที่โดยรอบเมืองนาโกย่า ที่นี่มีภาษาแตกต่างมากมาย แต่ยังคงแบบฉบับของภาษานาโกย่า โดยจะใส่คำว่า “ เมียะ”ลงไป บางครั้งจึงถูกล้อเลียนว่าเหมือนเสียงแมวร้อง อีกทั้งรูปแบบปฏิเสธจะพูดว่า “จะ เนี่ย” (ไม่)โดยคำว่า “เนี่ย” “เมียะ” จะคล้ายเสียงแมวร้อง นอกจากนี้ยังมีอีกเสียงหนึ่งที่เป็นเอกลักษณ์ คำว่า”โย เค” โยเสียง”โอะ” “เอะ” ถ้าลากเสียงยาวจะแล้วจะฟังคล้ายภาษาท้องถิ่นนาโกย่า
คำว่า” โย เค” ซึ่งมีความหมายว่า”โอ่ย” (มาก) “ทัก คุ ซัง” (มากมาย) ถูกใช้กันมากมาย
Hokuriku เมืองทีวีที่ไม่ได้บินเมืองพายุทราย
Hokurikuคือจังหวัดฟุกุอิ จังหวัดอิชิกาวะ จังหวัดโทะยะมะรวมถึงชายฝั่งตะวันตกของเกาะฮอนชูรวมทั้งเกาะ
Sadoด้วย เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่างเช่น ปราสาท และบ่อน้ำพุร้อน แม้ว่าจะมีภาษาท้องถิ่นมากมาย แต่ภาษาที่เป็นรู้จักกันดี ค่อภาษาฟุกุอิ ถ้าคุนไปภูมิภาคนี้ คำว่า”โซ โดส สุ”(ใช่ๆ) ในภาษากลางจใช้คำว่า “โฮยะ โอยะ”พร้อมกับพยักหน้าแทน ซึ่งมีความหมายเดียวกัน อีกอันหนึ่งขอแนะนำการสร้างคำที่น่าสนใจซึ่งเป็นลักษณะพิเศษ อย่างคำว่า”ซึ นะ อะ ระ ชิ”(พายุทราย)ซึ่งเป็นภาษากลางแต่ที่จังหวัด ฟุกุอิจะใช้คำว่า “จะมิ จะมิ”
คันไซ สูงศักดิ์กับทั่วไป
ภูมิภาคคันไซมี2เมืองที่มีชื่อเสียง คือโอซาก้า และเกียวโต โอซาก้าเป็นเมืองค้าขาย ผู้คนเป็นมิตร อีกด้านหนึ่ง
เกียวโตเป็นเมืองที่มีชื่อเสียงมีชีวิตวัฒนธรรมอันสูงส่งของญี่ปุ่น2เมืองที่ติดกัน แต่มีความต่างกันอย่างสิ้นเชิงที่ภาษาท้องถิ่น ในภาษาเกียวโตเป็นภาษาคันไซที่มีระดับ ในสมัยก่อนเกียวโตเคยเป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่น ภาษาถิ่นคือภาษาที่ยังคงเหลือไว้มาจนถึงปัจจุบันอย่างไม่ต้องสงสัย นอกจากนี้ยังมีการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายมากกว่าคำอุปมา ยกตัวอย่างเช่น ถ้าพูดประโยคที่ว่า“บุ บุ ทสึ เคะ เดะ โมะ โด อุ โด สุ?”(มีความหมายว่า กลับไปเร็วๆหน่อย) ไม่ได้หมายความว่า “โอะ ฉะ สึ เคะ เดะ โมะ ทะ เบะ มัต สึ กะ?” (ทานข้าวที่โรยด้วยผงชา ใส่น้ำร้อนไหม) ว้ำหรับพูดกับลูกค้าที่นั่งนานๆมีความหมายว่า “อยากให้กลับไปเร็ว” อีกทั้งคำว่า” โดะ สุ” ในภาษาเกียวโต มีความหมายเดียวกับ “เดส สุ”ในภาษากลาง ซึ่งสามารถได้ยินจากการสนทนาของเกอิชา
อีกด้านหนึ่ง ภาษาโอซาก้าดูทั่วไปธรรมดากว่า ภาษาเกียวโต อย่างคำๆหนึ่งจะพูดในเฉพาะที่ ซึ่งมีความหลากหลาย อย่างที่ใช้บ่อยคือ “โอ คิ นิ” ซึ่งความหมายเดียวกับ”อะ ริ งะ โตะ” ในภาษากลางซึ่งแปลว่าขอบคุณ
ชูโกคุ การอยู่ร่วมกันระหว่างความรุนแรงและความอ่อนโยน
จาก Izumo-taisha จนถึง Tottori sa kyu มีจุดชมวิวมากมายซึ่งเป็นที่นิยมของทั้งชาวญี่ปุ่นและชาวต่างชาติ ภาษาฮิโรชิม่าเป็นเมื่อพูดครั้งแรก เนื่องจากเป็นภาษาที่มีสำเนียงที่แข็ง ถ้าคนที่ไม่ทราบความหมายก็อาจจะรู้สึกกลัวได้ อย่างเช่นคำว่า “ดะ” ซึ่งเป็นภาษากลาง แต่ภาษาฮิโรชิม่า จะออกเสียงว่า”จะ” หรือคำว่า”ดะ คะ ระ” (เพราะว่า)ในภาษาฮิโรชิม่าจะออกเสียงว่า “จะ เคน”
คิวชู ห้างสรรพสินค้าภาษาถิ่น
คิวชูเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่สุดเกาะนึงในญี่ปุ่น มีภาษาท้องถิ่นมากมายตามแต่ละที่ เป็นรื่องยากที่จะให้ครอบลุมหมดทุกพื้นที่ ขอแนะนำภาษาท้องถิ่นบางส่วนที่มีความโดดเด่น
โรงภาพยนตร์ในจังหวัดซะกะ หากเข้าไปนั่งที่นั่งในโรงภาพยนตร์แล้ว อาจจะได้ยินคนพูดว่า” โตด โตด โตด”ซึ่งมีความหมายว่า “ที่นั่งตรงนี้มีคนนั่งแล้ว” ให้หาที่นั่งอื่นแทน ในจังหวัดฟุกุโอกะที่ได้ยินบ่อยๆคือ” นัม บะ ชิ ยด โตะ?” ซึ่งมีความหมายว่า มันจะกลายเป็นสิ่งที่มีนิยมในญี่ปุ่น หากกล่าวว่าคำพยางค์ๆหนึ่งแตกต่างกับภาษากลาง ถ้ามีความหมายว่า “คุณทำอะไรอยู่” การอธิบายให้ชาวต่างชาติเข้าใจนั้นก็ยาก
ลักษณะเด่นของภาษาฮากาตะ ที่ใช้กันในแถบจังหวัดฟุกุโอกะและใกล้เคียง จะเปลี่ยนคำว่า”ดะ” เป็น “ยะ” ตัวอย่างเช่น ซู ชิ ดะ”(นี่ซุชิ) ในภาษาฮากาตจะเป็น “ซุชิยะ” ซึ่งคำนี้ออกเสียงแล้วมีความหมายว่าร้านซูชิ ควรระวังการใช้
โอกินาว่า อาณาจักรริวกิว
จังหวัดโอกินาวาไม่ได้เป็นดินแดนของญี่ปุ่นมาเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นรัฐเอกราชของราชอาณาจักรริวกิว ดังนั้นจังหวัดโอกินาว่าจึงมีคนโอกินาว่าที่ยังใช้ภาษาของตัวเองในชีวิตประจำวัน คงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะรู้ภาษาถิ่นโอกินาว่าทั้งหมด จึงขอแนะนำบางส่วนเท่านั้น
“เมน โซะ เระ” มีความหมายในภาษากลางว่า”อิ รัช ชัย มา เสะ”(ยินดีต้อนรับ) จะใช้คำนี้ทักทายลูกค้าเมื่อเข้ามาในร้าน หรือเวลาที่เรานแก้วกัน ภาษากลางจะพูคำว่า”คัม ไป” ส่วนภาษาโอกินาว่าจะพูดว่า”คะ รี่” อีกคำหนึ่งที่อยากให้รู้ เรพาเป็นคำเก่าแก่ของโอกินาว่า เมื่อตอนอยากพูด “ฉันรักคุณ” จะไม่พูดภาษากลางที่ว่า”ไอ ชิ เตะ อิ รุ”(ฉันรักเธอ)ให้ลองพูดว่า”ชิ จุ ซา” ส่งความรู้สึกที่แท้จริง
- หมวดหมู่
*Prices and options mentioned are subject to change.
*Unless stated otherwise, all prices include tax.
Recommended places for you
-
Appealing
Rukku and Uohei
Izakaya
Sapporo / Chitose
-
Appealing
Shiroi Koibito Park
Theme Parks
Sapporo / Chitose
-
Menu
ISHIDAYA Hanare
Yakiniku
Kobe, Sannomiya, Kitano
-
Goods
Yoshida Gennojo-Roho Kyoto Buddhist Altars
Gift Shops
Nijo Castle, Kyoto Imperial Palace
-
Kamesushi Sohonten
Sushi
Umeda, Osaka Station, Kitashinchi
-
Jukuseiniku-to Namamottsuarera Nikubaru Italian Nikutaria Sannomiya
Izakaya
Kobe, Sannomiya, Kitano
-
[MOVIE] ไปดูโชว์แล่ปลามากุโร่และลิ้มรสปลาสดๆแล่ใหม่ๆกันเถอะ!
-
เส้นทางยอดนิยมสำหรับท่องเที่ยวอะตะมิ
-
หากต้องการใช้ชีวิตยามราตรีในโตเกียวล่ะก็ มีบาร์ที่อยากกให้ลองไปกัน
-
5 จุดแนะนำสำหรับท่องเที่ยวมือเปล่ารอบ ๆ นาริตะ เหมาะกับเวลาว่างก่อนหรือหลังขึ้นเครื่อง!
-
ไม่ต้องไปไกลถึงฟุคุโอกะ ก็ทานราเม็งซุปกระดูกหมูสูตรเด็ดในโตเกียวได้!
-
สามารถอร่อยกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอาหารได้ง่ายๆ! ด้วยภาษาญี่ปุ่นที่ใช้บ่อยๆ ในร้าน “อิซากายะ” สถานที่ที่ควรไปเมื่อมาเที่ยวประเทศญี่ปุ่น
-
ของฝาก 5 อย่างที่ซื้อได้แค่ที่สถานีรถไฟโตเกียวเท่านั้น
-
การเดินทางจากสนามบินนาริตะ มาประเทศญี่ปุ่นครั้งแรกก็ไม่มีปัญหา!
-
วัฒนธรรมโอะฟุโระ (การแช่น้ำร้อนญี่ปุ่น) และวิธีการใช้โอะฟุโระ
-
ตามหาของเด็ดของอร่อยที่ตลาดอาเมะโยโกะสุดฮิต!
-
ชวนช็อปเครื่องครัวราคาย่อมเยา มีทุกอย่างที่คัปปะบาชิ ไม่ไกลจากอาซากุสะ!
-
ชำแหละให้หมดเปลือกกับย่านยะเนะเซ็นที่ยังคงหลงเหลือบรรยากาศแบบญี่ปุ่นสมัยก่อน